ปวดหัว แบบไหนต้องรีบพบแพทย์ อาการปวดศีรษะ เป็นโรคยอดฮิตของทุกเพศทุกวัย โดยอาการปวดศีรษะส่วนใหญ่ ที่พบได้บ่อยมักเป็นชนิดไม่รุนแรง สามารถรักษาได้ด้วยการดูแลตัวเอง หรือรับประทานยาเพื่อบรรเทาอาการ
ปวดหัว แบบไหนต้องรีบพบแพทย์ คือสัญญาณร้ายที่ควรพบแพทย์
ปวดหัว หรือ ปวดศีรษะ อาการที่พบบ่อยในทุกเพศทุกวัย โดยมากอาการปวดจะไม่รุนแรง และสามารถหายปวดหัวได้เอง แต่หากพบว่าอาการปวดศีรษะนั้น ทวีความรุนแรงมากขึ้น จนเกินจะรับมือไหว ควรสังเกตุอาการ และรีบไปพบแพทย์ทันที ให้ทำการตรวจวินิจฉัยโดยเร่งด่วน เพื่อคัดกรองและรักษาอาการปวดศีรษะได้ตรงสาเหตุ สำหรับผู้ที่ไม่มีลักษณะ อาการตามที่ระบุมาข้างต้นนั้น มักจะเป็นอาการปวดศีรษะ ชนิดที่ไม่รุนแรง โดยอาการที่พบได้บ่อย
- ปวดศีรษะเฉียบพลัน และปวดรุนแรง โดยเฉพาะผู้ที่ไม่เคยมีอาการปวดศีรษะ แบบเป็นๆ หายๆ มาก่อนหน้านั้น
- ปวดศีรษะมากขึ้น ปวดขึ้นเป็นประจำทุกวัน รับประทานยาแก้ปวดแล้วก็ไม่ดีขึ้น
- ปวดมากจนไม่สามารถนอนหลับได้ หรือปวดมากจนตื่นกลางดึก
- มีอาการผิดปกติอื่น ๆ เช่น ไข้ ตามัว ภาพซ้อน ชาแขนชาขา แขนขาอ่อนแรง มีคลื่นไส้ อาเจียนอย่างรุนแรง
- เป็นการปวดศีรษะครั้งแรก หลังอายุ 50 ปี
- สำหรับผู้ที่ไม่มีลักษณะ อาการตามที่ระบุมาข้างต้นนั้น มักจะเป็นอาการปวดศีรษะ ชนิดที่ไม่รุนแรง โดยอาการที่พบได้บ่อย
“ปวดหัวเรื้อรัง” คุณหมอบอกว่า “ไม่ใช่เรื่องธรรมดา”
- อาการปวดศีรษะที่มักเริ่มต้นหลังตื่นนอน เพราะอาจเป็นสัญญาณของภาวะความดันสมองสูงผิดปกติ
- อาการปวดศีรษะที่เกิดขึ้นทันทีทันใด และมีความรุนแรงมากจนทำให้สะดุ้งตื่น
- อาการปวดศีรษะรุนแรง และมักมีอาการคอแข็งร่วมด้วย อาจเกิดจากการติดเชื้อในระบบประสาท
- อาการปวดศีรษะที่ส่งผลให้มีอาการแขนขาอ่อนแรง การมองเห็นหรือการได้ยินผิดปกติได้จากเดิม
- อาการปวดศีรษะที่เกิดขึ้นแบบรุนแรงและเฉียบพลัน เพราะอาจเป็นสัญญาณของโรคหลอดเลือดสมอง
- อาการปวดศีรษะที่มีอาการปวดตาร่วมด้วย และมีอาการตาแดงตามมา
- อาการปวดศีรษะครั้งแรกหลังอายุ 50 ปี
- อาการปวดศีรษะที่มีระดับความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ
อาการปวดศีรษะ ชนิดไม่รุนแรง
- ปวดศีรษะจากความเครียด พบมากที่สุดในทุกช่วงอายุ เกิดจากการเกร็งของกล้ามเนื้อ บริเวณศีรษะ ซึ่งกระตุ้นจากความเครียด พักผ่อนน้อย หรือการกระทำที่ส่งผลให้กล้ามเนื้อคอ บ่า ไหล่ เกร็งหรือตึง มีลักษณะปวดแบบตื้อๆ มึนๆ เหมือนมีอะไรมาบีบรัดบริเวณหน้าผาก ขมับ หรือท้ายทอย อาการปวดมักเป็นไม่มาก อาจปวดได้ตั้งแต่ไม่กี่ชั่วโมง จนถึงหลายวันการรักษาเบื้องต้น อาจรับประทานยาแก้ปวด ชนิดพาราเซตามอล และพักผ่อนให้เพียงพอ ลดความเครียด หรืออาการจะดีขึ้นหลังจากนั้น
- ปวดศีรษะไมเกรน พบได้บ่อยเป็นอันดับ 2 มักพบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย หรือช่วงวัยรุ่นถึงวัยกลางคน อาการปวดค่อนข้างจำเพาะ มีลักษณะปวดตุ้บ ๆ บริเวณขมับ ร้าวมาที่กระบอกตา หรือร้าวไปท้ายทอย มักปวดบริเวณข้างใดข้างหนึ่ง แต่บางรายอาจปวดทั้ง 2 ข้าง ส่วนใหญ่จะมีอาการคลื่นไส้อาเจียนร่วมด้วย
ปวดศีรษะชนิดคลัสเตอร์ พบได้รองลงมา มักพบในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง และวัยกลางคนขึ้นไป เกิดจากความผิดปกติของการทำงานของระบบประสาทสมองคู่ที่ 5 และหลอดเลือดที่เกี่ยวข้อง รวมถึงระบบประสาทอัตโนมัติ มีลักษณะอาการปวดศีรษะเป็นชุด ๆ มักปวดเวลาเดิม ๆ ปวดติดต่อกันระยะเวลาหนึ่งแล้วหายไป อาการปวดแต่ละครั้งมักไม่นานมาก ประมาณ 1 ชั่วโมง แต่จะปวดรุนแรงกว่าไมเกรน ตำแหน่งที่ปวดคือรอบกระบอกตา และอาจมีอาการตาแดง น้ำตาไหล น้ำมูกไหล หนังตาตกร่วมด้วยได้
วิธีแก้อาการปวดหัวด้วยตัวเอง โดยไม่ต้องพึ่งยา
- ยาหอม มีสรรพคุณช่วยบรรเทาอาการวิงเวียนศรีษะ และคลายบรรเทาอาการปวดหัว ใช้สูดดมก็ได้ ทานก็ได้ แต่ส่วนใหญ่จะใช้ชงดื่มกับน้ำร้อน นอกจากจะได้ตัวยาแล้ว ยังได้สูดดม จะมีกลิ่นหอมของยาที่ระเหยขึ้นมาด้วย ซึ่งจะช่วยบำบัดอาการปวดหัวได้อีกทางหนึ่ง
- ออกมาสูดอากาศ ปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อม ผ่อนคลายความเครียด เหนื่อยล้า ด้วยการพักสายตา ทำกิจกรรมอย่างอื่น เพื่อเป็นการพักผ่อนสมอง เช่น ปลูกต้นไม้ ออกกำลังกาย เป็นต้น
- นวดผ่อนคลาย เนื่องจากการนวดจะช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของเลือด จะทำให้รู้สึกผ่อนคลายได้
อาการปวดหัวหรือเป็นโรค ที่พบได้บ่อยมากที่สุด และสามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคน ทุกวัย บางคนนานๆ ทีจะปวดหัว แต่สำหรับบางคนก็อาจจะมีอาการปวดบ่อยขึ้น ปวดอยู่เป็นประจำแล้ว ซึ่งก็อาจจะทำให้ไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ หรือนอนไม่หลับเลยก็มี
อาการปวดตุบ ๆ นั้น คือเป็นจังหวะเหมือนชีพจรที่กำลังเต้นแรง ปวดหัวข้างเดียวเพราะเป็นส่วนใหญ่ ไม่จำเป็นต้องซ้ำข้างเดิม หรืออาจปวด 2 ข้างนั้นก็ได้ มีอาการข้างเคียง เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ไม่อยากอาหาร รู้สึกหนาวหรือร้อน หรือเห็นแสงสี มีอาการรวมอยู่ด้วย
สาเหตุ มาจากพันธุกรรมได้ส่วนหนึ่ง และยังสันนิษฐานว่าอาจมีส่วนเกี่ยวข้องกับสารเคมี เส้นประสาท หรือเส้นเลือดในสมองรอบกระโหลกศีรษะ ระบบรับความรู้สึกไวกว่าปกติโดยปัจจัยที่กระตุ้นให้เกิดขึ้นได้
เราทุกคนคงเคยมีอาการปวดหัว จึงอาจคิดว่าการปวดหัวเป็นเรื่องปกติ และหายเองได้ บางท่านทานยาแก้ปวด เพื่อให้อาการดีขึ้น แต่หากมีอาการปวดหัว ที่ผิดแปลกไป อาจเป็นสัญญาณเตือน ถึงความผิดปกติของษรีษะได้ หรือโรคต่าง ๆ ดังนั้นจำเป็นต้องรีบพบแพทย์ เพื่อตรวจดูและรักษาอย่างถูกต้อง ซึ่งทางแอดมินก็ได้เป็นห่วงสมาชิก สำหรับท่านที่เล่น เดิมพันออนไลน์ เป็นเวลานาน ๆ อยากจะให้หาเวลาพักร่างกาย พักสายตากันบ้าง เมื่อร่างกายพร้อมแล้ว ค่อยกลับมาล่ารางวัลแจ็กพอตกันต่อไป